การใช้งานเครื่องมือ Follow Me ใน Google SketchUp
Follow Me เป็นเครื่องมือสำหรับปรับแต่งโมเดล และใช้สร้างรูปทรงต่างๆ การใช้งานเครื่องมือ Follow Me บนวัตถุจะมีลักษณะคล้ายๆกับการใช้เครื่องมือ Push/Pull จะแตกต่างกันตรงที่เครื่องมือ Follow Me นั้นจะวิ่งไปตามเส้นขอบของวัตถุในทิศทางที่เรากำหนด เรียกใช้งานได้โดยไปที่ เมนู ---> Tools ---> Follow Me
วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555
Solid Tool Google SketchUp
สร้างโมเดลใหม่ๆ ด้วยเครื่องมือ Solid Tool
วัตถุ 3 มิติ เราสามารถนำมาปรับแต่งให้เป็นวัตถุใหม่ๆได้ จากการกระทำของวัตถุ 2 ชิ้นขึ้นไปนำมาวางซ้อนกันแล้ว ใช้เครื่องมือ Solid Tool ช่วยแปลงสภาพการซ้อนทับกันให้เกิดเป็นวัตถุใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ ดังภาพ
วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555
คัดลอกวัตถุ Google SketchUp
การคัดลอกวัตถุด้วยเครื่องมือ Move และ Rotate
เครื่องมือ Move และ Rotate ยังมีความสามารถในการใช้คัดลอกวัตถุที่ต้องการได้ได้โดยใช้งานร่วมกับการกดคีย์ Ctrl เพื่อคัดลอกวัตถุที่ต้องการ สามารถคัดลอกวัตถุทีละชิ้นหรือหลายๆชิ้นได้
การคัดลอกวัตถุทีละชิ้น
ขณะที่ใช้เครื่องมือ Move ย้ายวัตถุหรือใช้เครื่องมือ Rotate หมุนวัตถุให้กดคีย์ Ctrl หนึ่งครั้ง จะเป็นการคัดลอกวัตถุชิ้นนั้นออกไป เคอร์เซอร์ของเครื่องมือจะมีเครื่องหมาย + ขึ้นมา โดยขณะใช้เครื่องมือ Move เราจะได้วัตถุเพิ่มขึ้นและเลือกจัดวางใจตำแหน่งที่ต้องการ และขณะที่ใช้เครื่องมือ Rotate จะได้วัตถุเพิ่มขึ้นและหมุนไปจัดวางในตำแหน่งที่ต้องการ
เครื่องมือ Move และ Rotate ยังมีความสามารถในการใช้คัดลอกวัตถุที่ต้องการได้ได้โดยใช้งานร่วมกับการกดคีย์ Ctrl เพื่อคัดลอกวัตถุที่ต้องการ สามารถคัดลอกวัตถุทีละชิ้นหรือหลายๆชิ้นได้
การคัดลอกวัตถุทีละชิ้น
ขณะที่ใช้เครื่องมือ Move ย้ายวัตถุหรือใช้เครื่องมือ Rotate หมุนวัตถุให้กดคีย์ Ctrl หนึ่งครั้ง จะเป็นการคัดลอกวัตถุชิ้นนั้นออกไป เคอร์เซอร์ของเครื่องมือจะมีเครื่องหมาย + ขึ้นมา โดยขณะใช้เครื่องมือ Move เราจะได้วัตถุเพิ่มขึ้นและเลือกจัดวางใจตำแหน่งที่ต้องการ และขณะที่ใช้เครื่องมือ Rotate จะได้วัตถุเพิ่มขึ้นและหมุนไปจัดวางในตำแหน่งที่ต้องการ
วันเสาร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2555
แกนอ้างอิง Google SketchUp
การอ้างอิงทิศทางด้วยแกนอ้างอิง (Axes)
การวาดเส้นใน Google SketchUp จะมีการอ้างอิงทิศทางตามแกนอ้างอิง (Axes) ทั้ง 3 แกนเพื่อให้การสร้างเส้นในทิศทางต่างๆ
มีความถูกต้องและแม่นยำ โดยถ้าวาดเส้นขนานไปตามแกน X เส้นที่กำลังวาดอยู่จะแสดงเป็นสีแดง
หรือถ้าวาดเส้นขนานไป ตามแกน Y เส้นที่กำลังวาดอยู่จะแสดงเป็นสีเขียว
มุมมอง 2D และ 3D Google SketchUp
การทำงานในมุมมอง 2D และ 3D
การทำงานในโปรแกรมออกแบบ 3D ทั่วไปจะมีการทำงานในมุมมองทั้งแบบ 2D (Two Dimensions) และ 3D (Three Dimensions) โดยการทำงานในมุมมอง 2D นั้น การทำงานจะอ้างอิงกับเส้นแกน 2 เส้น เช่น X,Y หรือ X,Z
วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2555
องค์ประกอบของวัตถุใน Google SketchUp
องค์ประกอบของวัตถุใน Google SketchUp
วัตถุหรือรูปทรงใน Google sketchUp จะปรากฏไปด้วยเส้นและพื้นผิวเป็นหลัก
โดยพื้นผิวจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีการบรรจบกันของเส้นตั้งแต่ 3 เส้นขึ้นไป
ดังนั้นเมื่อใดก็ตามที่เราวาดเส้นมาบรรจบกันในระนาบเดียวกันก็จะเกิดพื้นผิวขึ้นภายในขอบเขตของเส้นเหล่านั้น
และในส่วนของพื้นผิวเองจะมีด้วยกันอยู่ 2 ด้านคือ พื้นผิวด้านนอกและพื้นผิวด้านใน ดังภาพ
กำหนดความยาวของเส้นตรง Google SketchUp
การกำหนดความยาวของเส้นตรง หลักๆมี 2 วิธีดังนี้
1. การกำหนดความยาวของเส้นด้วย Measurement
ในขณะที่ใช้เครื่องมือ Line วาดเส้นไปในทิศทางต่างๆ ให้สังเกตที่เครื่องมือ Measurement
จะเห็นว่าข้อความด้านหน้าของช่องกำหนดค่าจะเปลี่ยนเป็น
Length และในช่องกำหนดค่าจะแสดงตัวเลขตามระยะของเส้นที่ถูกลากไป เราสามารถกำหนดความยาวของเส้นด้วย Measurement
ได้ด้วยกัน 2
กรณีคือ
วาดเส้นตรงด้วยเครื่องมือ Line
วาดเส้นตรงด้วยเครื่องมือ Line
การวาดเส้นตรงในลักษณะต่างๆ
เครื่องมือ Line เป็นเครื่องมือสำหรับวาดเส้นตรง สามารถเรียกใช้งานได้จาก ไอคอน หรือเลือกจากเมนู View --- > Line หรือ กดคีย์ L การวาดเส้นตรงด้วยเครื่องมือ Line จะมีรูปแบบการวาดเส้นตรงอยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ
การวาดเส้นตรงในลักษณะต่างๆ
เครื่องมือ Line เป็นเครื่องมือสำหรับวาดเส้นตรง สามารถเรียกใช้งานได้จาก ไอคอน หรือเลือกจากเมนู View --- > Line หรือ กดคีย์ L การวาดเส้นตรงด้วยเครื่องมือ Line จะมีรูปแบบการวาดเส้นตรงอยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ
1. Click – Move –Click เป็นการวาดเส้นตรงแบบการคลิกเม้าส์หนึ่งครั้งในตำแหน่งเริ่มต้นแล้วเลื่อนเม้าส์ไปยังตำแหน่งถัดไป
แล้วคลิกเม้าส์อีกครั้ง วิธีนี้เมื่อปล่อยเม้าส์แล้วเลื่อนเม้าส์ไปยังตำแหน่งใดๆ
จะมีเส้นตรงเชื่อมต่อจากปลายเส้นที่เพิ่งวาดไปตามเคอร์เซอร์ของเม้าส์ออกมาเสมอจนกว่าเส้นจะมีการบรรจบกันจนเกิดเป็นพื้นผิว
การใช้เครื่องมือ Select Google SketchUp
การเลือกวัตถุด้วยเครื่องมือ Select
วัตถุใน Google SketchUp จะแบ่งออกเป็น 6 รูปแบบด้วยกันคือ เส้น (Edge) พื้นผิว (Face) วัตถุที่ถูกรวมกลุ่ม Group/component เส้นนำหรือเส้นไกด์ Guide Line ข้อความ Text เส้นวัดขนาด Dimension Line และแผ่นหน้าตัด Section Plane เราสามารถเลือกวัตถุต่างๆ เหล่านี้ได้ด้วยเครื่องมือ Select โดยเลือกจากไอคอน Select หรือกดคีย์ Spacebar หรือเลือกจากเมนู Tool Select
วัตถุใน Google SketchUp จะแบ่งออกเป็น 6 รูปแบบด้วยกันคือ เส้น (Edge) พื้นผิว (Face) วัตถุที่ถูกรวมกลุ่ม Group/component เส้นนำหรือเส้นไกด์ Guide Line ข้อความ Text เส้นวัดขนาด Dimension Line และแผ่นหน้าตัด Section Plane เราสามารถเลือกวัตถุต่างๆ เหล่านี้ได้ด้วยเครื่องมือ Select โดยเลือกจากไอคอน Select หรือกดคีย์ Spacebar หรือเลือกจากเมนู Tool Select
วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2555
รูปแบบการแสดงชิ้นงานบนจอภาพ
ในบางครั้งหากเราต้องการแสดงชิ้นงานที่สร้างขึ้นในรูปแบบต่างๆ เพื่อจุดประสงค์ที่ต่างกัน เช่นต้องการใช้ชิ้นงานที่โปร่งใสเพื่อดูองค์ประกอบด้านใน หรือต้องการแสดงเฉพาะโครงสร้างเพื่อให้เห็นการออกแบบโครงสร้างที่ชัดเจน หรือเน้นเส้นขอบให้เข้มขึ้นเพื่อเน้นส่วนประกอบนั้น เนื่องจาก Google SketchUp มี 2 รูปแบบในการแสดงผล คือ พื้นผิว (Face) และเส้นขอบ (Edge) จีงสามารถปรับปรุงรูปแบบการแสดงชิ้นงานได้ 2 แบบคือ
- รูปแบบการแสดงพื้นผิวระนาบ (Face Style)
- รูปแบบการแสดงเส้นขอบ (Edge Style)
สร้างโมเดลบ้านแบบง่าย
สร้างชิ้นงานชิ้นแรกโมเดลบ้านแบบง่าย
สำหรับใบความรู้นี้ เราจะมาทอลองสร้างงานแบบง่ายๆกัน โดยใช้เพียงเครื่องมือพื้นฐานและเวลาเพียงไม่นาน เราก็จะได้บ้าน 1 หลัง จากนั้นก็ปรับพร๊อปประกอบฉาก เพื่ออุ่นเครื่องการทำงานและการใช้เครื่องมือใน Google SketchUp8 ก่อนที่จะได้ทำงานที่ประยุกต์ขึ้นมา
บ้านที่เราจะสร้างเป็นบ้านเดี่ยว หลังคาทรงจั่ว และมีองค์ประกอบเพิ่มเติมเล็กน้อย เพื่อประกอบฉากให้สมบูรณ์และมีเรื่องราวมากขึ้น ดังนี้
จากภาพ เราจะแบ่งขั้นตอนการทำงานออกเป็น 5 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 สร้างตัวบ้าน
ขั้นตอนที่ 2 ใส่ประตูและหน้าต่าง
ขั้นตอนที่ 3 ใส่สีสันให้กับบ้าน
ขั้นตอนที่ 4 ตกแต่งเพิ่มองค์ประกอบให้บ้าน
ขั้นตอนที่ 5 จัดแสงเงาตามช่วงเวลา
วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2555
พื้นที่การทำงาน Google SketchUp
รู้จักกับพื้นที่การทำงาน Drawing Area Google SketchUp
- การทำงานกับแนวแกนอ้างอิง
วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2555
Components Google SketchUp
รู้จักการทำงานของไดอะล็อกบ็อกซ์ Components Google SketchUp
ในไดอะล็อกบล๊อก Components จะจัดเก็บโมเดลเป็นหมวดหมู่ในรูปแบบโฟลเดอร์ โดยแต่ละเครื่องมือจะมีคอมโพเนนต์มีดังนี้
ในไดอะล็อกบล๊อก Components จะจัดเก็บโมเดลเป็นหมวดหมู่ในรูปแบบโฟลเดอร์ โดยแต่ละเครื่องมือจะมีคอมโพเนนต์มีดังนี้
- Tab Select
ใช้สำหรับค้นหาและเลือกคอมโพเนนต์ที่มีอยู่ใน Warehouse ของ Google เป็นคลัง Components และสามารถเลือกใช้งานคอมโพเนนต์ในคลังของเราได้
วิธีเรียกใช้งานคอมโพเนนต์ ไปที่ เมนู ----> Windows ----> Components
การควบคุมมุมมอง Google SketchUp
การควบคุมมุมมองด้วยเม้าส์และคีย์บอร์ด
เพื่อช่วยให้การทำงานมีความสะดวกและรวดเร็ว เรายังสามารถที่จะควบคุมมุมมองในขณะทำงานด้วยเครื่องมือต่างๆได้ด้วยการใช้เม้าส์ร่วมกับคีย์บอร์ด โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้
เพื่อช่วยให้การทำงานมีความสะดวกและรวดเร็ว เรายังสามารถที่จะควบคุมมุมมองในขณะทำงานด้วยเครื่องมือต่างๆได้ด้วยการใช้เม้าส์ร่วมกับคีย์บอร์ด โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้
วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555
กำหนดค่า Keyboard Shortcut
การกำหนดค่า Keyboard Shortcut ใน Google SketchUp
Google SketchUp ได้กำหนดค่าในส่วนของ Keyboard Shortcut หรือคีย์ลัดเอาไว้ให้แล้วส่วนหนึ่ง เราสามารถที่จะกำหนดค่าของคีย์ลัดเอาไว้ให้แล้วส่วนหนึ่ง เราสามารถที่จะกำหนดค่าของคีย์ลัดตามความถนัดในการใช้งานของตัวเองได้จากหน้าต่าง System Preferences ขึ้นมาแล้วเลือกไปที่ Shortcuts โดยจะมีส่วนสำหรับกำหนดค่าดังนี้
Google SketchUp ได้กำหนดค่าในส่วนของ Keyboard Shortcut หรือคีย์ลัดเอาไว้ให้แล้วส่วนหนึ่ง เราสามารถที่จะกำหนดค่าของคีย์ลัดเอาไว้ให้แล้วส่วนหนึ่ง เราสามารถที่จะกำหนดค่าของคีย์ลัดตามความถนัดในการใช้งานของตัวเองได้จากหน้าต่าง System Preferences ขึ้นมาแล้วเลือกไปที่ Shortcuts โดยจะมีส่วนสำหรับกำหนดค่าดังนี้
การกำหนดคุณสมบัติของโปรแกรม Google SketchUp
การกำหนดคุณสมบัติของโปรแกรม Google SketchUp
การกำหนดคุณสมบัติของโปรแกรมจะกระทำผ่านหน้าต่าง System Preferences สามารถเรียกแสดงได้จากเมนู Windows ---> Preferences
การกำหนดคุณสมบัติของโปรแกรมจะกระทำผ่านหน้าต่าง System Preferences สามารถเรียกแสดงได้จากเมนู Windows ---> Preferences
วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555
Google SketchUp คืออะไร
วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับโปรแกรม Google SketchUp ท่านคุณครูและนักเรียน รวมถึงบุคคลทั่วไปที่กำลังมองหาโปรแกรมที่ช่วยในการสร้าง Model สักโปรแกรม เชื่อว่าโปรแกรม Google SketchUp มีประโยชน์และประสิทธิภาพ เพียงพอที่จะสร้าง Model หรือชิ้นงานแบบง่ายๆในสไตล์ของคุณ
แล้วคำถามที่ผลุดขึ้นมาในใจ ชวนให้เราสงสัยและอยากค้นหา ว่า Google SketchUp คืออะไร ทำงานอย่างไร ใช้งานอย่างไร เรามีคำตอบให้คุณ
แล้วคำถามที่ผลุดขึ้นมาในใจ ชวนให้เราสงสัยและอยากค้นหา ว่า Google SketchUp คืออะไร ทำงานอย่างไร ใช้งานอย่างไร เรามีคำตอบให้คุณ
มุมมองใน Google SketchUp
มุมมองใน Google SketchUp
Google SketchUp เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างโมเดล 3D ซึ่งมุมมองของภาพจะอยู่ในรูปมิติ ในการสร้างโมเดล หากเราเลือกมุมมองให้เหมาะสมในขณะสร้างชิ้นงาน จะทำให้เราสร้างชิ้นงานได้ตรงตามความต้องการ และผลงานที่ได้จะมีความสวยงาม
Google SketchUp เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างโมเดล 3D ซึ่งมุมมองของภาพจะอยู่ในรูปมิติ ในการสร้างโมเดล หากเราเลือกมุมมองให้เหมาะสมในขณะสร้างชิ้นงาน จะทำให้เราสร้างชิ้นงานได้ตรงตามความต้องการ และผลงานที่ได้จะมีความสวยงาม
- มุมมองมาตรฐาน Google SketchUp
มุมมองมาตรฐานในโปรแกรม Google SketchUp จะใช้ชุดเครื่องมือ View มีวิธีการเรียกใช้ดังนี้
ไปที่ เมนู View ---> Toolbars ---> Views
วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555
แถบเครื่องมือ Google SketchUp
แถบเครื่องมือ Google SketchUp
เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Google SketchUp จะปรากฏแถบเครื่องมือ ชุด Getting Started เป็นเครื่องมือเริ่มต้นของ Google SketchUp ดังภาพ
- การปรับแต่ง Toolbar Google SketchUp
เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Google SketchUp จะปรากฏแถบเครื่องมือ ชุด Getting Started เป็นเครื่องมือเริ่มต้นของ Google SketchUp ดังภาพ
วันศุกร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2555
ตั้งค่าการใช้งาน Google SketchUp
การตั้งค่าการใช้งาน Google SketchUp
ก่อนจะเริ่มการใช้งาน Google SketchUp เราควรที่จะรู้จักกับ Interface ของ Google SketchUp เมื่อเข้าสูโปรแกรมจะพบกับหน้าต่างออกแบบละส่วนของแถบเครื่องมือต่างๆ แยกเป็นส่วนๆ เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานโปรแกรม ซึ่งส่วนต่างๆเราจะสามารถตั้งค่าต่างๆก่อนเริ่มใช้งานโปรแกรม เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้เครื่องมือต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งค่ามาตราส่วนหน่วยวัด การตั้งค่าคีย์ลัด รวมไปถึงพื้นที่การทำงาน
ก่อนจะเริ่มการใช้งาน Google SketchUp เราควรที่จะรู้จักกับ Interface ของ Google SketchUp เมื่อเข้าสูโปรแกรมจะพบกับหน้าต่างออกแบบละส่วนของแถบเครื่องมือต่างๆ แยกเป็นส่วนๆ เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานโปรแกรม ซึ่งส่วนต่างๆเราจะสามารถตั้งค่าต่างๆก่อนเริ่มใช้งานโปรแกรม เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้เครื่องมือต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งค่ามาตราส่วนหน่วยวัด การตั้งค่าคีย์ลัด รวมไปถึงพื้นที่การทำงาน
การติดตั้ง Google SketchUp
ดาวน์โหลดและติดตั้ง Google SketchUp
ดาวน์โหลดโปรแกรม
เปิด Google chrome เข้าไปที่ http://www.sketchup.com/intl/en/download/index.html สามารถเลือกดาวน์โหลดเวอร์ชันที่เราต้องการ ถ้าเป็นเวอร์ชัน 8 สามารถดาวน์โหลดได้เลย แต่ถ้าเป็น SketchUp Pro 8 ต้องกรอกรายละเอียด จึงจะสามารถดาวน์โหลดได้ เมื่อดาวน์โหลดเสร็จจะได้ไฟล์ที่ใช้ในการติดตั้ง ดังรูปภาพต่อไปนี้
ดาวน์โหลดโปรแกรม
เปิด Google chrome เข้าไปที่ http://www.sketchup.com/intl/en/download/index.html สามารถเลือกดาวน์โหลดเวอร์ชันที่เราต้องการ ถ้าเป็นเวอร์ชัน 8 สามารถดาวน์โหลดได้เลย แต่ถ้าเป็น SketchUp Pro 8 ต้องกรอกรายละเอียด จึงจะสามารถดาวน์โหลดได้ เมื่อดาวน์โหลดเสร็จจะได้ไฟล์ที่ใช้ในการติดตั้ง ดังรูปภาพต่อไปนี้
ติดตั้ง Vray Google SketchUp
ดาวน์โหลดและติดตั้ง Vray Google SketchUp
โปรแกรม V-Ray สามารถใช้ได้ทั้งระบบปฏิบัติการ Windows และ Mac OSX ดาวน์โหลดได้ที่
www.chaosgroup.com
โปรแกรม V-Ray สามารถใช้ได้ทั้งระบบปฏิบัติการ Windows และ Mac OSX ดาวน์โหลดได้ที่
www.chaosgroup.com
ติดตั้ง V-Ray Google SketchUp
แตกไฟล์ Zip แล้วทำการติดตั้งตามขั้นตอนต่อไปนี้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)